หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)

Home หลักสูตร หลักสูตรระดับปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
ภาษาไทย :
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
ภาษาอังกฤษ :
DOCTOR OF PHILOSOPHY PROGRAM IN COMPUTER SCIENCE

ชื่อปริญญา

ภาษาไทย(ชื่อเต็ม): หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
ชื่อย่อ ปร.ด. (วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ภาษาอังกฤษ(ชื่อเต็ม): DOCTOR OF PHILOSOPHY PROGRAM IN COMPUTER SCIENCE
ชื่อย่อ Ph.D. (Computer Science)

วิชาเอก

วิทยาการคอมพิวเตอร์

โครงสร้างหลักสูตร

จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า หน่วยกิต

หมวดวิชา เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ (หน่วยกิต) หลักสูตรที่เสนอ(หน่วยกิต)
แบบ 1.1 แบบ 2.1 แบบ 2.2 แบบ 1.1 แบบ 2.1 แบบ 2.2
1. หมวดวิชาเฉพาะสาขา ไม่น้อยกว่า 12 ไม่น้อยกว่า 24 12 25
1.1 หมวดวิชาบังคับ ไม่ระบุ ไม่ระบุ 12 13
1.2 หมวดวิชาบังคับ ไม่ระบุ ไม่ระบุ 12
3. หมวดประสบการณ์วิจัย วิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 48 ไม่น้อยกว่า 36 ไม่น้อยกว่า 48 36 48 48
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 48 ไม่น้อยกว่า 48 ไม่น้อยกว่า 72 48 48 73

จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

  • แบบ 1.1 เป็นแผนการศึกษาที่เน้นวิจัย ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต โดยเป็นหน่วยกิต ของวิทยานิพนธ์ 48 หน่วยกิต
  • แบบ 2.1 เป็นแผนการศึกษาที่มีรายวิชาไม่น้อยกว่า 59 หน่วยกิต และเป็นหน่วยกิต ของวิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
  • แบบ 2.2 เป็นแผนการศึกษาที่มีรายวิชาไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต และเป็นหน่วยกิต ของวิทยานิพนธ์ 48 หน่วยกิต

แผนการเรียน แบบ 2.1

  • ก่อนขึ้นสอบวิทยานิพนธ์ 3 บท นิสิตต้องตีพิมพ์ ส่วนหนึ่งของบทความวิจัย 1 เรื่อง ในวารสารวิชาการ เริ่มจาก TCI ฐาน 1-2 หรือวารสารระดับนานาชาติ
  • ก่อนนิสิตจะสำเร็จการศึกษา นิสิตนต้องตีพิมพ์ บทความวิจัยที่เป็นส่วนสำคัญของงานวิจัย 1 เรื่อง ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติเท่านั้น

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  • โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
  • นักพัฒนาโปรแกรมประยกุต์บนอปุกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile Developer)
  • นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design)
  • นักทดสอบระบบ (Software Tester)
  • ผู้ดูแลเวบ็ไซต์ (Web Administrator)
  • ผู้จัดการโครงการ (Project Manager)
  • ผู้ดูแลฐานข้อมลู (Database Administrator)
  • นักวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineer)
  • นักวิเคราะห์ข้อมูล (Data Scientist)
  • นักการตลาดดิจิทลัและออกแบบ UX&UI (Digital Marketing and UX&UI Designer)
  • นักวิชาการคอมพิวเตอร์ (IT Support)
  • นักออกแบบ Interface (User Interface developer)
  • นักวิจัย (Researcher)
  • ครูและอาจารย์ (Lecturer)
  • ผู้ดูแลระบบเครือข่าย (Network Administrator)
  • ผู้ออกแบบเครือข่าย (Network Architect)
  • ผู้เชี่ยวชาญความมั่นคงไซเบอร์ (Cybersecurity Professional)

รายละเอียดเพิ่มเติม