ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์
Home เกี่ยวกับคณะวิทยาการสารสนเทศ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์
ปรัชญาการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
“การจัดการศึกษาแบบบูรณาการศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต การสร้างสรรค์นวัตกรรมและการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่สากล”
ปรัชญา
“วิทยาการสารสนเทศเพื่อสังคม”
วิสัยทัศน์
การเป็นคณะชั้นนำของประเทศด้วยศาสตร์ทางด้านวิทยาการสารสนเทศ
พันธกิจ
พัฒนาการศึกษาที่ขับเคลื่อนด้วยคุณภาพของการศึกษา การวิจัย และการบริการวิชาการด้วยแนวทางของคำว่า “PLUS”
- Profoundness ความลุ่มลึกด้านการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ
- Leadership เป็นผู้นำด้านการพัฒนา ดารเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ
- Unique พัฒนาการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการที่มีเอกลักษณ์
- Splendid ความโดดเด่นในการขับเคลื่อนองค์กรด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการเรียนการสอน การผลิตบัณฑิต การวิจัย และการบริการวิชาการ
สมรรถนะหลัก “IT”
การบูรณาการศาสตร์ทางด้านวิทยาการสารสนเทศไปสู่การเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ
IT(Informatics) Integration of Informatics in Teaching, Researching and Academic Servicing
อัตลักษณ์
- IT FOR ALL ไอทีกับการช่วยเหลือชุมชนและสังคม
เอกลักษณ์
- การเป็นที่พึ่งของสังคมด้านไอที
คติพจน์
- ความรู้ คู่คุณธรรม นำสังคม
ค่านิยมองค์กร
INSPIRED หมายถึง แรงบัลดาลใจ
- I : Impact สะท้อนให้เห็นถึงความมุ่งมั่นในการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ
- N : Novelty ความคิดใหม่ในการพัฒนาหลักสูตร งานวิจัย และงานสร้างสรรค์
- S : Sustainability การพัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืน
- P : People with Empathy and Compassion สร้างสรรค์ความสัมพันธ์อันดีในองค์กร
- I : Inclusion การทำงานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ภายใต้เป้าหมายเดียวกันถายใต้เป้าหมายเดียวกัน
- R : Reduced Inequality ลดความเหลื่อมล้ำ
- E : Environment การมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเรียน และการทำงาน
- D : Dedication การมีจรรยาบรรณที่โดเด่น
ประเด็นยุทธศาสตร์
- ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการเรียนการสอนที่มีมาตรฐานและคุณภาพของชาติ
- ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มขีดความสามารถในการวิจัยและสร้างนวัตกรรมที่สร้างคุณค่าทางวิชาการและมูลค่าเพิ่มให้กับสังคม
- ยุทธศาสตร์ที่ 3 การให้บริการวิชาการแก่สังคม
- ยุทธศาสตร์ที่ 4 ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมอีสาน
- ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบบริหารจัดการคณะให้มีประสิทธิภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล