หลักสูตร

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)

หน้าหลัก / หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)

ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)

ภาษาอังกฤษ : DOCTOR OF PHILOSOPHY PROGRAM IN COMPUTER SCIENCE


ชื่อปริญญา

ภาษาไทย (ชื่อเต็ม) : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
(ชื่อย่อ) : ปร.ด. (วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ภาษาอังกฤษ (ชื่อเต็ม) : DOCTOR OF PHILOSOPHY PROGRAM IN COMPUTER SCIENCE
(ชื่อย่อ) : Ph.D. (Computer Science)

วิชาเอก

วิทยาการคอมพิวเตอร์

โครงสร้างหลักสูตร

จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า หน่วยกิต

หมวดวิชา เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ (หน่วยกิต) หลักสูตรที่เสนอ(หน่วยกิต)
แบบ 1.1 แบบ 2.1 แบบ 2.2 แบบ 1.1 แบบ 2.1 แบบ 2.2
1. หมวดวิชาเฉพาะสาขา - ไม่น้อยกว่า 12 ไม่น้อยกว่า 24 - 12 25
1.1 หมวดวิชาบังคับ - ไม่ระบุ ไม่ระบุ - 12 13
1.2 หมวดวิชาบังคับ - ไม่ระบุ ไม่ระบุ - - 12
3. หมวดประสบการณ์วิจัย วิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 48 ไม่น้อยกว่า 36 ไม่น้อยกว่า 48 36 48 48
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 48 ไม่น้อยกว่า 48 ไม่น้อยกว่า 72 48 48 73

จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

  • แบบ 1.1 เป็นแผนการศึกษาที่เน้นวิจัย ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต โดยเป็นหน่วยกิต ของวิทยานิพนธ์ 48 หน่วยกิต
  • แบบ 2.1 เป็นแผนการศึกษาที่มีรายวิชาไม่น้อยกว่า 59 หน่วยกิต และเป็นหน่วยกิต ของวิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
  • แบบ 2.2 เป็นแผนการศึกษาที่มีรายวิชาไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต และเป็นหน่วยกิต ของวิทยานิพนธ์ 48 หน่วยกิต

2. แผนการเรียน แบบ 2.1

2.1 ก่อนขึ้นสอบวิทยานิพนธ์ 3 บท นิสิตต้องตีพิมพ์ ส่วนหนึ่งของบทความวิจัย 1 เรื่อง ในวารสารวิชาการ เริ่มจาก TCI ฐาน 1-2 หรือวารสารระดับนานาชาติ
2.2 ก่อนนิสิตจะสำเร็จการศึกษา นิสิตนต้องตีพิมพ์ บทความวิจัยที่เป็นส่วนสำคัญของงานวิจัย 1 เรื่อง ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติเท่านั้น

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  • โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
  • นักพัฒนาโปรแกรมประยกุต์บนอปุกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile Developer)
  • นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design)
  • นักทดสอบระบบ (Software Tester)
  • ผู้ดูแลเวบ็ไซต์ (Web Administrator)
  • ผู้จัดการโครงการ (Project Manager)
  • ผู้ดูแลฐานข้อมลู (Database Administrator)
  • นักวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineer)
  • นักวิเคราะห์ข้อมูล (Data Scientist)
  • นักการตลาดดิจิทลัและออกแบบ UX&UI (Digital Marketing and UX&UI Designer)
  • นักวิชาการคอมพิวเตอร์ (IT Support)
  • นักออกแบบ Interface (User Interface developer)
  • นักวิจัย (Researcher)
  • ครูและอาจารย์ (Lecturer)
  • ผู้ดูแลระบบเครือข่าย (Network Administrator)
  • ผู้ออกแบบเครือข่าย (Network Architect)
  • ผู้เชี่ยวชาญความมั่นคงไซเบอร์ (Cybersecurity Professional)

รายละเอียดเพิ่มเติม