หลักสูตร

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสื่อนฤมิต (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563)

หน้าหลัก / หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสื่อนฤมิต (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563)

ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสื่อนฤมิต (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563)

ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Creative Media


ชื่อปริญญา

ภาษาไทย (ชื่อเต็ม) : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสื่อนฤมิต (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563)
(ชื่อย่อ) : ปร.ด. (สื่อนฤมิต)
ภาษาอังกฤษ (ชื่อเต็ม) : Doctor of Philosophy Program in Creative Media
(ชื่อย่อ) : Ph.D. (Creative Media)

วิชาเอก

-

โครงสร้างหลักสูตร

จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต

หมวดวิชา เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ (หน่วยกิต) หลักสูตรที่เสนอ(หน่วยกิต)
แบบ 1.1 แบบ 2.1 แบบ 1.1 แบบ 2.1
1. หมวดวิชาบังคับ - ไม่น้อยกว่า 12 - 6
2. หมวดวิชาเลือก - - ไม่น้อยกว่า 6
3. หมวดประสบการณ์วิจัย วิทยานิพนธ์ 48 36 48 36
จำนวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า 48 48 48 48

1. แผนการเรียน แบบ 1.1

1.1 ก่อนขึ้นสอบวิทยานิพนธ์ 3 บท ตีพิมพ์ ส่วนหนึ่งของวิจัย 1 เรื่อง ในวารสารวิชาการ เริ่มจาก TCI ฐาน 1 หรือวารสารระดับนานาชาติ
1.2 ก่อนนิสิตจะส าเร็จการศึกษา นิสิตนต้องตีพิมพ์ บทความวิจัยที่เป็นส่วนสำคัญของงานวิจัย 2 เรื่อง ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติเท่านั้น

2. แผนการเรียน แบบ 2.1

2.1 ก่อนขึ้นสอบวิทยานิพนธ์ 3 บท นิสิตต้องตีพิมพ์ ส่วนหนึ่งของบทความวิจัย 1 เรื่อง ในวารสารวิชาการ เริ่มจาก TCI ฐาน 1-2 หรือวารสารระดับนานาชาติ
2.2 ก่อนนิสิตจะสำเร็จการศึกษา นิสิตนต้องตีพิมพ์ บทความวิจัยที่เป็นส่วนสำคัญของงานวิจัย 1 เรื่อง ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติเท่านั้น

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  • นักวิจัยด้านอุตสาหกรรมดิจิทัลสร้างสรรค์ทั้งภาครัฐและเอกชน
  • อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน
  • นักวิชาการด้านอุตสาหกรรมดิจิทัลสร้างสรรค์ทั้งภาครัฐและเอกชน
  • ที่ปรึกษาในสถานประกอบการอุตสาหกรรมดิจิทัลสร้างสรรค์
  • นักวางแผนและบริหารจัดการธุรกิจในกลุ่มอุตสาหกรรมดิจิทัลสร้างสรรค์
  • นักออกแบบและพัฒนาสื่อนวัตกรรมในอุตสาหกรรมดิจิทัลสร้างสรรค์
  • ผู้ประกอบการธุรกิจด้านสื่อนวัตกรรมในอุตสาหกรรมดิจิทัลสร้างสรรค์
  • ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาสื่อสร้างสรรค์เพื่อการศึกษา

รายละเอียดเพิ่มเติม